฿0.00
แก๊สไนโตรเจน Nitrogen
ประเภทของสถานะ
1.แก๊สไนโตรเจน (Nitrogen Gas)
2.ไนโตรเจนเหลว (Liquid Nitrogen)
การนำไปใช้งานและประโยชน์
ไนโตรเจนถูกนำไปใช้อย่างแพร่หลายในด่านการตรวจสอบการไหล (FlowTesting) ขึ้นรูปผลิตภัณฑ์พลาสติก ทดสอบระบบทางเดินท่อต่างๆ ใช้ในระบบไฮโดรลิค เติมลมยางล้อเครื่องบินและยังใช้ในการถ่ายเทแก๊สไวไฟชนิดเหลวอีกด้วยนอกจากนี้ไนโตรเจนยังเป็นตัวสำคัญในการป้องกันการรวมตัวของออกซิเจนใช้ในการหล่อหลอมโลหะ รีด หรือขึ้นรูปโลหะใช้ในกระบวนการทางเคมีในการบรรจุหีบห่ออาหารการทำไวน์(Wine)ใช้ในอุตสาหกรรมสีและวานิช อุตสาหกรรมทำท่ออุตสาหกรรมยาง รวมถึงอุตสาหกรรมทำเครื่องแก้วทั้งหลาย ไนโตรเจนยังใช้ในกระบวนการผลิตและใช้เป็นแก๊สเฉื่อยในระบบที่ปราศจากออกซิเจนและความชื้นอีกด้วย
Powered by Froala Editor
Powered by Froala Editor
Powered by Froala Editor
Powered by Froala Editor
Powered by Froala Editor
Powered by Froala Editor
Powered by Froala Editor
Powered by Froala Editor
Powered by Froala Editor
ค่าคงที่ทางกายภาพ (Physical Constants) | |
---|---|
มวลโมเลกุล | 28.0134 |
ความหนาแน่น ของแก๊สที่ 15 C (15 psi) | 1.170 kg/m3 |
ความหนาแน่น ของเหลวที่จุดเดือด | 806 kg/m3 |
ปริมาตรจำเพาะที่ 15 C (15 psi) | 0.855 m3/kg |
คุณสมบัติทั่วไป |
---|
ไนโตรเจนเป็นแก๊สที่ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่เป็นพิษ (Non-toxic) ไม่สามารถติดไฟได้ง่าย มีปริมาตรโดยประมาณ 79% ของอากาศ |
การนำไปใช้งานและประโยชน์ |
ไนโตรเจนถูกนำไปใช้อย่างแพร่หลายในด้านการตรวจสอบการไหล (Flow testing) ขึ้นรูปผลิตภัณฑ์พลาสติก ใช้ในกระบวนการล้างอัดภาพถ่ายทดสอบระบบทางเดินท่อต่างๆ ใช้ในระบบไฮโดรลิค เดิมลมยางล้อเครื่องบินและยังใช้ในการถ่ายเทแก๊สไวไฟชนิดเหลวอีกด้วย นอกจากนี้ ไนโตรเจนยังเป็นตัวสำคัญในการป้องกันการรวมตัวของออกซิเจนใช้ในการหล่อหลอมโลหะรีดหรือขึ้นรูปโลหะ ใช้ในกระบวนการทางเคมี ในการบรรจุหีบห่ออาหาร การทำไวน์ (Wine) ใช้ในอุตสาหกรรมสีและวานิช อุตสาหกรรมทำต่อ อุตสาหกรรมยางรวมถึงอุตสาหกรรมทำเครื่องแก้วทั้งหลายด้วย ไนโตรเจนยังใช้ในกระบวนการผลิตไนลอน สังเคราะห์ความชื้น (Moisture-sensitive symthetics) และใช้เป็นแก๊สเฉื่อยในระบบที่ปราศจากออกซิเจนและความชื้นอีกด้วย |
ข้อควรระวังในการใช้งาน |
ปฏิบัติตามข้อแนะนำใน “ความปลอดภัยในการใช้แก๊สความดันสูง” เมื่อปฏิบัติงานกับแก๊สไนโตรเจน ระวังอย่าให้ไนโตรเจนเหลวถูกผิวหนัง เพราะไนโตรเจนเหลวมีอุณภูมิต่ำมาก จะทำให้ผิวหนังไหม้ได้ |
Powered by Froala Editor
Powered by Froala Editor
Powered by Froala Editor
Powered by Froala Editor
Powered by Froala Editor
Powered by Froala Editor
Powered by Froala Editor
Powered by Froala Editor
Powered by Froala Editor
Powered by Froala Editor