฿0.00
ไฮโดรเจน : การเผาไหม้ให้ความร้อน หลอมเหลว หลอดไฟ ปิโตรเคมี
ไฮโดรเจนเป็นแก๊สไวไฟ ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ละลายได้ในน้ำ (1.9 ใน 100 ส่วนโดนปริมาตร) และละลายได้ดีในของเหลวประเภทไฮโดรคาร์บอน (มากถึง 65 ใน 100 ส่วน โดยปริมาตร) มีมวลเป็น 0.07 เท่าของมวลอากาศซึ่งเป็นที่รู้จักในนาม “แก๊สที่มีน้ำหนักเบาที่สุดในโลก”
Powered by Froala Editor
Powered by Froala Editor
Powered by Froala Editor
Powered by Froala Editor
Powered by Froala Editor
ค่าคงที่ทางกายภาพ (Physical Constants) | |
---|---|
มวลโมเลกุล | 2.016 |
ความหนาแน่น ของแก๊สที่ 15 C (15 psi) | 0.0899 kg/m3 |
ปริมาตรจำเพาะที่ 21 C (15 psi) | 11.97 m3/kg |
คุณสมบัติทั่วไป |
---|
ไฮโดรเจนเป็นแก๊สไวไฟ ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ละลายได้ในน้ำ (1.9 ใน 100 ส่วนโดนปริมาตร) และละลายได้ดีในของเหลวประเภทไฮโดรคาร์บอน (มากถึง 65 ใน 100 ส่วน โดยปริมาตร) มีมวลเป็น 0.07 เท่าของมวลอากาศซึ่งเป็นที่รู้จักในนาม “แก๊สที่มีน้ำหนักเบาที่สุดในโลก” |
การนำไปใช้งานและประโยชน์ |
ไฮโดนเจนถูกใช้กันอย่างแพร่หลายโดยใช้ร่วมกับแก๊สตัวอื่นในกระบวนการสังเคราะห์ทางเคมี อาทิเช่น แอมโมเนีย เมทานอล และยังใช้ในกระบวนการ ไฮโดรจีเนชั่น (Hydrogenation) เพื่อสังเคราะห์น้ำมันพืชและน้ำมันจากสัตว์ ใช้ในกระบวนการกลั่นน้ำมันเบนซิน โทลีน และไซลีนและใช้ร่วมกับ คลอรีน เพื่อผลิตไฮโดรเจนคลอไรด์ นอกจากนี้ไฮโดรเจนยังใช้ร่วมกับออกซิเจน ในการตัดชิ้นงานใต้น้ำ ส่วนไฮโดรเจนเหลวใช้เป็นเชื้อเพลิงชองจรวดและเป็นส่วนผสมสำคัญในการสร้างปฏิกิริยานิวเคลียร์ (Thermo-nuclear reaction) |
ข้อควรระวังในการใช้งาน |
อันตรายที่สำคัญจากการใช้ไฮโดรเจน คือ คุณสมบัติในเรื่องความไวไฟสูงนั่นเอง ไฮโดรเจนมีระยะติดไฟอยู่ที่ประมาณ 4% ถึง 75% ข้อควรระวังอื่นๆ ให้ดูที่ “ความปลอดภัยในการใช้แก๊สความดันสูง” |
Powered by Froala Editor
Powered by Froala Editor
Powered by Froala Editor
Powered by Froala Editor
Powered by Froala Editor
Powered by Froala Editor
Powered by Froala Editor
Powered by Froala Editor