฿0.00
LPG (Liquid Petroleum Gas)
การนำไปใช้งานและประโยชน์
เป็นที่รู้จักกันดี ในลักษณะของแก๊สหุงต้ม มีคุณสมบัติในการให้ความร้อนที่มีต้นทุนไม่สูง นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในอุตสาหกรรมทุกชนิด
มีบรรจุขนาด 48 กก. และ 15 กก. ทั้งแบบวาล์วเดี่ยวและคู่ นิยมติดตั้งเป็นแบบ Manifold LPG และ Bulk ทั้งนี้ต้องขึ้นอยู่กับข้อบังคับทางกฎหมายด้วย
Powered by Froala Editor
Powered by Froala Editor
Powered by Froala Editor
Powered by Froala Editor
Powered by Froala Editor
Powered by Froala Editor
ค่าคงที่ทางกายภาพของPropane (Physical Constants) | |
---|---|
มวลโมเลกุล | 44.1 |
ความหนาแน่นของแก๊สที่อุณหภูมิ 15 C | 2.0098 kg/m3 |
จุดเดือด | - 42 C |
ปริมาตรจำเพาะที่ 21 C (15 psi) | 0.552 m3/kg |
คุณสมบัติทั่วไป |
---|
แก๊สปิโตรเลียมเหลว (LPG) หรือที่รู้จักกันในชื่อ แก๊สหุงต้ม ประกอบด้วยไฮโดรคาร์บอน ที่มีส่วนประกอบของคาร์บอน (C) และไฮโดรเจน (H) ใน 1 โมเลกุล ซึ่งไฮโดรคาร์บอนกลุ่มนี้ประกอบด้วย Propane (C3H8), Porpylene (C3H6), Butane (C4H10) และButylene (C4H8) ซึ่งแก๊สLPGนี้ จะมีส่วนประกอบของ Propane (C3H8) เป็นส่วนใหญ่ ซึ่งแก๊สปิโตรเลียมเหลว (LPG) จัดเป็นเชื้อเพลิงอีกชนิดหนึ่งที่มาจากซากดึกดำบรรพ์ เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกแก๊สธรรมชาติ ในโรงแยกแก๊สธรรมชาติ โดยแก๊สชนิดนี้ไม่มีกลิ่น ไม่มีสี ปราศจากพิษ หนักกว่าอากาศ และติดไฟได้ในช่วงของการติดไฟที่ 2–15 % ของปริมาณในอากาศ และอุณหภูมิที่ติดไฟได้เองคือ 400 องศาเซลเซียส |
การนำไปใช้งานและประโยชน์ |
แก๊สปิโตรเลียมเหลวใช้เป็นเชื้อเพลิงในการประกอบอาหารในครัวเรือน และใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม รวมถึงยานพาหนะได้ |
ข้อควรระวังในการใช้งาน |
ปฏิบัติตามคำแนะนำใน “ความปลอดภัยในการใช้แก๊สความดันสูง” |
Powered by Froala Editor
Powered by Froala Editor
Powered by Froala Editor
Powered by Froala Editor